วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

โครงสร้างแบบ Ring
 โครงสร้างแบบ Ring เป็นโครงสร้างที่ถูกพัฒนาโดย IBM โดยมีลักษณะการเชื่อมต่อแบบวงแหวน ซึ่งจะมีการส่งข้อมูลแบบโทเค็น (Token) ให้กับเครื่องที่อยู่ในเครือข่ายตามลำดับ โดยไม่สนใจว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นจะเป็นเจ้าของข้อมูลปลายทางหรือไม่ หากมีการตรวจสอบแล้วว่าไม่ใช่ ก็จะส่งข้อมูลออกไปยังเครื่องที่อยู่ถัดไปในลักษณะทิศทางเดียวกันตลอดจนกว่าข้อมูลนั้นจะส่งไปยังเครื่องปลายทางได้อย่างถูกต้อง
       โครงสร้างแบบ Ring ส่วนใหญ่ จะใช้กับเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เป็นระบบคอมพิวเตอร์เมนเฟรมของ IBM เท่านั้น จึงไม่เป็นที่นิยมใช้กับงานทั่วไป เนื่องจากดูแลรักษายากและมีค่าใช้จ่ายสูง

                     http://www.hatyairat.ac.th/wbi/wbiA/service.html
แบบ Ring
·                  การเชื่อมต่อแบบวงแหวน
·                  เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งวนจนครบเป็นวงจร
·                  ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่งไปอีกครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง
·                  ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้
·                  ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก
            เป็นเครื่องข่ายแบบ Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายระบบ   
 http://www.thaiipcamera.com/network/50-info/552-lantopology.html
โครงสร้างแบบแหวน (Ring Network)
       โครงสร้างแบบนี้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์จะถูกเชื่อมต่อเข้ากับสายเคเบิลเส้นเดียวเป็นวงแหวนดังรูปที่ได้แสดงไว้ การส่งข้อมูลจะใช้ทิศทางเดียวกันตลอดโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ถัดกันไปเป็นทอด ๆ ถ้าแอดเดรสของมันไม่ตรงกับผู้รับตามที่เครื่องต้นระบุมา มันก็จะส่งผ่านไปยังเครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายคือตรงกับใครเครื่องนั้นก็รับ ไม่ส่งต่อ โครงสร้างแบบนี้มีข้อเสียคล้าย ๆ กับแบบบัส คือเมื่อสายเคเบิลช่วงใดช่วงหนึ่งขาดจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ตามเครือข่ายแบบวงแหวนมักใช้สายเคเบิลที่มีวงแหวนสำรองที่สามารถส่งข้อมูลในทิศทางกลับกัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในกรณีที่เครือข่ายมีปัญหา ซึ่งราคาแพงพอสมควร นอกจากนี้การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่ายจะต้องปิดการทำงานของระบบก่อนเช่นเดียวกับแบบบัส เครือข่ายแบบนี้ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในเครือข่ายของผลิตภัณฑ์ในตระกูล IBM ซึ่งโดยมากจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์
                          http://learners.in.th/blog/paopilai/315577
ระบบเครือข่ายรูปแบบวงแหวน (Ring)
           เครือข่ายแบบโทเคนริง (Token Ring)เป็นเทคโนโลยีเครือข่าย LAN ที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ในช่วงทศวรรษที่1970 ซึ่งต่อมา IEEE ได้นำมาเป็นแม่แบบในการพัฒนามาตรฐาน IEEE 802.5 ซึ่ง IEEE 802.5 หรือ โทเคนริง (Token Ring) จัดเป็นเครือข่ายที่ใช้โทโปโลยีแบบวงแหวน(Ring)ด้วยสายคู่ตีเกลียวหรือเส้นใยนำแสง อัตราการส่งข้อมูลของโทเค็นริงที่ใช้โดยทั่วไปคือ 4 หรือ 16 Mbps กำหนดให้มีสถานีเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 250 สถานี เครือข่าย LAN แบบโทเคนริงนั้น เหมาะกับงานที่ต้องการรับประกันอัตราความเร็วในการรับ/ส่งข้อมูล รวมทั้งงานที่ต้องการระบบความแน่นอนที่สามรถใช้งานได้ดีอยู่แม้มีปัญหาเกิดขึ้นกับระบแบบ
            Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ
    ข้อดี
ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน


   ข้อเสียหากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก
                                                                http://learners.in.th/blog/paopilai/315577

วันพฤหัสบดีที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2554

แบบ RING

โครงสร้างแบบแหวน (Ring Network)
โครงสร้างแบบนี้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์จะถูกเชื่อมต่อเข้ากับสายเคเบิลเส้นเดียวเป็นวงแหวนดังรูป
ที่ได้แสดงไว้ การส่งข้อมูลจะใช้ทิศทางเดียวกันตลอดโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ถัดกัน
ไปเป็นทอด ๆ ถ้าแอดเดรสของมันไม่ตรงกับผู้รับตามที่เครื่องต้นระบุมา มันก็จะส่งผ่านไปยัง
เครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายคือตรงกับใครเครื่องนั้นก็รับ ไม่ส่งต่อ โครงสร้างแบบน
ี้มีข้อเสียคล้าย ๆ กับแบบบัส คือเมื่อสายเคเบิลช่วงใดช่วงหนึ่งขาดจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ตามเครือข่ายแบบวงแหวนมักใช้สายเคเบิลที่มีวงแหวนสำรองที่สามารถส่งข้อมูลใน
ทิศทางกลับกัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในกรณีที่เครือข่ายมีปัญหา ซึ่งราคาแพงพอสมควร นอกจากนี้การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่ายจะต้องปิดการทำงานของระบบก่อนเช่นเดียวกับแบบบัส เครือข่ายแบบนี้ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในเครือข่ายของผลิตภัณฑ์ในตระกูล IBM ซึ่งโดยมากจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์








รูปแบบโครงสร้างแบบริง (Ring Network)